ค้นหา
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain-Based Learning ด้านการเคลื่อนไหว
เด็กเล็กมุ่งเน้นที่การพัฒนาผิวสัมผัส สมดุลร่างกาย และสัมพันธภาพของร่างกาย ผ่านกิจกรรมการเคลื่อนไหว
พัฒนาการด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
การพัฒนาด้านการเคลื่อนไหวของร่างกาย เป็นการพัฒนาโครงสร้างทั้งระบบของร่างกาย ที่ใช้ในการควบคุมสั่งการตัวเอง และการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม ขอให้สังเกตดูว่า ลูกแมวมีการพัฒนาตัวเองอย่างมากในวัยแรกเกิด มันฝึกฝนท่วงท่าในการเดิน วิ่ง กระโดด ตีลังกา ตะปบ กอดรัดฟัดเหวี่ยง จนในที่สุด ร่างกายก็พร้อมที่จะออกไปสู่โลกภายนอก
กระบวนการพัฒนาร่างกาย และการเคลื่อนไหวของเด็ก จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้นอย่างเต็มที่...
การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร Brain-Based Learning ด้านศิลปะและการสร้างสรรค์
ศิลปะของเด็กเล็ก ไม่เน้นความเหมือนจริง แต่มุ่งเน้นที่การถ่ายทอดสิ่งที่เห็น สิ่งที่จินตนาการ ออกมาเป็นรูปธรรม
พัฒนาการด้านศิลปะและการสร้างสรรค์
ทำไมเด็กต้องเรียนรู้ศิลปะ? บางคนคิดว่า ศิลปะเป็นเรื่องของคนที่มีพรสวรรค์ บางคนคิดว่า เราสอนศิลปะเพื่อช่วยให้เด็กเบาสมอง แต่ที่จริงศิลปะเป็นผลงานอันเก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์ได้ทำมา เช่น ภาพเขียนตามผนังถ้ำ และการประดิษฐ์ขวาน หม้อ เกวียน เหล่านี้เป็นศิลปะทั้งสิ้น
เด็กทุกคนสร้างงานศิลปะได้ และชอบงานศิลปะ การจะพัฒนาศิลปะและการสร้างสรรค์ให้เด็ก ต้องเข้าใจว่า ศิลปะก็คือ...
จัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain-Based Learning ด้านอารมณ์และจิตใจ
เด็กเล็ก เรียนรู้ได้ดีเมื่อสมองส่วนอารมณ์ได้รับการกระตุ้น ความสุข สนุก ตื่นเต้น ซาบซึ้ง ส่งผลในเชิงบวก ในขณะที่ ความเครียด ความกลัว ยับยั้งการเรียนรู้
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
การพัฒนาเด็กด้านอารมณ์และจิตใจ เป็นการพัฒนาที่มีกระบวนการอันซับซ้อน อารมณ์และจิตใจเป็นผลจากการที่เด็กปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม การสะสมของข้อมูลความรู้สึกจำนวนมากๆ ในที่สุดจะก่อรูปเป็นอารมณ์และจิตใจของเด็กเอง
ดังนั้นการพัฒนาอารมณ์และจิตใจ จึงไม่ใช่เพียงแต่สนใจทำให้เด็กสนุกและมีความสุข ในชีวิตจริงคนเราไม่ได้ง่ายอย่างนั้น...
พัฒนาการสมองของเด็กวัย 3 - 6 ปี
สมองปฐมวัย วัยเคลื่อนไหว วัยสัมผัสจับต้อง เด็กเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว สำรวจตรวจสอบสิ่งใกล้ตัว โดยรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส และอารมณ์ที่สนุกสนาน
พัฒนาการด้านโครงสร้างและการทำงานของสมอง
สมองส่วนใหญ่ของเด็กวัยนี้จะอยู่ในขั้นตอนของการพัฒนา
สมองส่วนรับความรู้สึกมีการพัฒนาเพิ่มขึ้นมากที่สุดในระยะนี้
ประสาทสัมผัสและการรับรู้ต่างๆ พัฒนาชัดเจนขึ้น
การกระตุ้นโดยสัมผัสจะช่วยกระตุ้นการทำงานประสานกันของส่วนรับสัมผัสของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
เมื่อสถานีรับข้อมูลจากภายนอกพัฒนาได้เร็ว ก็จะส่งผ่านข้อมูลไปกระตุ้นการทำงานของระบบอื่นๆ...
สมองเรียนรู้อย่างไร
“ความฉลาด” ของมนุษย์เกิดจากศักยภาพของสมองที่เรียนรู้ผ่านพัฒนาการด้านโครงสร้างและการเชื่อมโยงเครือข่ายใยประสาทจำนวนมหาศาล
ศักยภาพของสมอง
อวัยวะมหัศจรรย์
ถึงแม้ว่า สมองจะถูกเข้าใจว่าเป็นสิ่งอัศจรรย์ที่สุดในร่างกายมนุษย์มานานแล้ว แต่นักวิทยาศาสตร์เพิ่งเริ่มเข้าใจความมหัศจรรย์ของสมองมนุษย์อย่างลึกซึ้งเมื่อช่วงปลายศตวรรษที่ 20 นี้เอง และสามารถให้คำอธิบายอย่างละเอียดว่า สมองมนุษย์ที่น่าทึ่งนี้มีการทำงานอย่างไร
สมองมีการจัดระบบการทำงานที่ซับซ้อน และมีความยืดหยุ่นในการพัฒนาปรับเปลี่ยนตัวเองได้ดีไม่น้อยไปกว่าอวัยวะใดๆ...
การเพิ่มผลิตภาพแรงงานโดยใช้หลักการ BBL
... เป็นเวทีเสวนาวิชาการที่จัดขึ้นในงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
“10 ปี การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)”
ที่นำเสนอองค์ความรู้ด้านการจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง ผ่านเวทีเสวนาจากผู้เชี่ยวชาญ ...
เรื่องจริงสะกิดจอ: เรียนรู้สิ่งที่รัก รักในสิ่งที่เรียนรู้
เรียนรู้สิ่งที่รัก รักในสิ่งที่เรียนรู้ การเลี้ยงดูลูกวัย (7 - 10 ปี) ตามหลักการพัฒนาสมอง
คลิปจากผู้ชมรายการ การเลี้ยงดูลูกวัย (7 - 10 ปี) ตามหลักการพัฒนาสมอง
เปิดโลกใบเล็ก สู่โลกกว้าง
เปิดโลกทัศน์ของเด็กให้กว้างขึ้นด้วยการนำเด็กไปรู้จักกับแหล่งเรียนรู้ใกล้ตัว
สมองดีสร้างได้ ... รายการที่นำคุณพ่อคุณแม่และครูผู้มีส่วนในการจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยมารู้จักกับหลักการจัดการเรียนรู้ตามพัฒนาการโครงสร้างและการทำงานของสมอง เอื้อให้เด็กได้เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน และเติบโตสมวัยตามพัฒนาการครบทุกด้าน พร้อมสำหรับการเรียนรู้ในขั้นที่สูงขึ้นไป
เปิดโลกทัศน์ของเด็กให้กว้างขึ้นด้วยการนำเด็กไปรู้จักกับแหล่งเรียนรู้ใกล้ตัว เชื่อมโยงกับประสบการณ์น้อยนิดที่เด็กมีอยู่ แล้วขยายออกตามความสนใจของเด็ก...
หนูรู้จริงนะ
เมื่อสมองรับรู้ถึงความสามารถของตนเอง จะนำไปสู่การปรับปรุงเติมแต่งแก้ไข หรือท้าทายให้เกิดการเรียนรู้ในระดับที่ซับซ้อนขึ้น
สมองดีสร้างได้ ... รายการที่นำคุณพ่อคุณแม่และครูผู้มีส่วนในการจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยมารู้จักกับหลักการจัดการเรียนรู้ตามพัฒนาการโครงสร้างและการทำงานของสมอง เอื้อให้เด็กได้เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน และเติบโตสมวัยตามพัฒนาการครบทุกด้าน พร้อมสำหรับการเรียนรู้ในขั้นที่สูงขึ้นไป
สมองต้องการการตอบสนองทันที ผลที่ได้จากการลงมือทำทำให้เด็กเห็นถึงระดับความสามารถของตนเอง ดังนั้น...
เรื่องจริงสะกิดจอ: เรียนรู้ได้ดี เมื่อไม่รู้ตัว
เรียนรู้ได้ดี เมื่อไม่รู้ตัว การเลี้ยงดูลูกวัย (0 – 2 ปี) ตามหลักการพัฒนาสมอง
คลิปจากผู้ชมรายการ การเลี้ยงดูลูกวัย (0 – 2 ปี) ตามหลักการพัฒนาสมอง