เอกสารเผยแพร่
23 กุมภาพันธ์ 2560
เมื่อเทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตและมีบทบาทมากขึ้น จะทำอย่างไรให้เด็กๆ ใช้เทคโนโลยีอย่างรู้เท่าทัน และชาญฉลาด
23 กุมภาพันธ์ 2560
ทำความรู้จัก เข้าใจแนวทางจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ร่วมวิเคราะห์ สร้างสรรค์คำตอบให้กับการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 เพื่อนำไปใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม
21 กุมภาพันธ์ 2560
“การสร้างเยาวชนของชาติ เพื่อตอบโจทย์อนาคต” ค้นพบความหมายและความสำคัญของ
การพัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital Development) จากหลากมุมมองของผู้มีส่วนในการวางรากฐานการสร้างเยาวชนของชาติให้เติบโตขึ้นเป็นทุนมนุษย์ที่ทรงคุณค่าในอนาคต
แนวคิดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองใช้ในการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนนำร่อง BBL ระดับอนุบาลและประถมศึกษา
การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองใช้ในการพัฒนาอนาคตของชาติและแก้ปัญหาวัยรุ่นในสังคมให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ยั่งยืน
การทำหน้าที่พ่อแม่ มีความรู้หลายอย่างที่พ่อแม่ต้องทำความเข้าใจ
สนามเด็กเล่นตามหลัก BBL : แหล่งเรียนรู้การเล่นตามรอยพระยุคลบาท เป็นเวทีเสวนาวิชาการที่จัดขึ้นในงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “10 ปี การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)”
โดย รองศาสตราจารย์ นพ.สุริยเดว ทรีปาตี ผู้อำนวยการสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล และอนุกรรมการขับเคลื่อนงานจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง
การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการด้านโครงสร้างและการทำงานของสมอง เหมาะสมกับทุกช่วงวัย
การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองใช้ในการพัฒนาอนาคตของชาติและแก้ปัญหา “แม่วัยใส” ” ในสังคมให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ยั่งยืน
แนวคิดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองใช้ในการพัฒนาอนาคตของชาติและแก้ปัญหา “เด็กแว้นและเด็กสก๊อย”
“ความฉลาด” ของมนุษย์เกิดจากศักยภาพของสมองที่เรียนรู้ผ่านพัฒนาการด้านโครงสร้างและการเชื่อมโยงเครือข่ายใยประสาทจำนวนมหาศาล
สมองปฐมวัย วัยเคลื่อนไหว วัยสัมผัสจับต้อง เด็กเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว สำรวจตรวจสอบสิ่งใกล้ตัว โดยรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส และอารมณ์ที่สนุกสนาน
เด็กเล็ก เรียนรู้ได้ดีเมื่อสมองส่วนอารมณ์ได้รับการกระตุ้น ความสุข สนุก ตื่นเต้น ซาบซึ้ง ส่งผลในเชิงบวก ในขณะที่ ความเครียด ความกลัว ยับยั้งการเรียนรู้